วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ไม้ไผ่

ไผ่ในประเทศ
ในประเทศไทยนั้น พบไผ่อยู่ 30 ชนิด ดังนี้
  ไผ่ข้าวหลาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cephalostachyum pergracile )

  • ไผ่คายดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa compressa)

  • ไผ่โจด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Arundinaria cililta)

  • ไผ่ซาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus strictus)

  • ไผ่ซางคำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus latiflorus)

  • ไผ่ซางนวล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus membranaceus)

  • ไผ่ซางหม่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus sericeus )

  • ไผ่ตง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus aspe)

  • ไผ่ตากวาง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa kurzii)

  • ไผ่บง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa nutans)

  • ไผ่บงคาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa hosseusii)

  • ไผ่บงดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa tulda)

  • ไผ่บงป่า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa longispatha)

  • ไผ่บงหนาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa burmanica)

  • ไผ่ป่า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa bambos)

  • ไผ่เพ็ก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vietnamosasa pusilla)

  • ไผ่รวก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Thyrsostachys siamensis)

  • ไผ่รวกดำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Thyrsostachys oliveri)

  • ไผ่ไร่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gigantochloa albociliata)

  • ไผ่ลำมะลอก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa longispiculatar)

  • ไผ่เลี้ยง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa mulfiplex)

  • ไผ่หวาน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa sp.)

  • ไผ่สีสุก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa blumeana)

  • ไผ่หก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrocalamus hamiltonii)

  • ไผ่หลอด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Neohouzeaua mekongensis)

  • ไผ่หอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa polymorpha)

  • ไผ่เหลือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bambusa vulgaris)

  • ไผ่เฮียะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cephalostachyum virgatum)

  • อ้างอิง
    http://th.wikipedia.org/wiki

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น